บันทึกประจำวันที่ 24 มีนาคม 2559
เข้าประชุมร่วมกับข้าราชการ และคณะครูเพื่อรายงานการจัดกิจกรรมของครู ตำบล 19 ตำบล ไตรมาส 1 โดยมีผู้อำนวยการ ณราวัลย์ นันต๊ะภูมิ เป็นผู้เปิดการประชุม และอาจารย์กฤษณะ เจริญอรุณวัฒนา เป็นผู้ดำเนินกิจกรรม
รายงานผลการดำเนินงาน และไตรมาส
รายงานไตรมาส ให้รายงานไตรมาส 1 และ 3 งานพื้นฐาน งานอัธยาศัยกรอกทุกไตรมส การคร่อมไตรมาส จะนับวันสุดท้ายของการจัดกิจกรรม การทำฐานข้อมูลไม่คีย์ไตรมาสเนื่องจากนับเป็นแห่ง
ระบบของการทำหนังสือเวียน น่าจะพร้อมในอาทิตย์หน้า จากเดิมเซ็นด้านหลังเอกสาร ตอนนี้ให้ทำเป็นระบบรับทราบผ่านตัวโปรแกรม เช่น กศน.สบตุ๋ย จะมีเอกสารแถบสีแดงขึ้นก่อนเข้าสู่ระบบให้คลิกรับทราบ
การนำเสนอของ ตำบลนิคมพัฒนา ผลของผู้เรียนเป็นอย่างไรในแต่ละคน ให้ออกมาเป็นรูปเล่มด้วย อันนี้ไม่ใช่สรุปผลการดำเนินงาน สรุปผลคือ ผู้เรียนได้เรียนอะไร(ดูตามแผน) ผู้เรียนเป็นไงบ้าง มีความก้าวหน้ามากน้อยแต่น้อย เพจ ทำอะไร ทำกี่เรื่อง มีผู้เข้าชมกี่คน บล็อคได้ทำกี่บล็อค กี่เรื่องมีผู้เข้าชม กี่คน เกี่ยวกับเรื่องอะไร มีการพัฒนาปรับปรุงอย่างไร ต้องมีการรายทุกกิจกรรมทุกๆกิจกรรม และสมบูรณ์แบบ ถ้ากิจกรรมทำไปแล้วต้องมีเป็นรูปเล่ม
การชมETV
แนวทางการจัดการศึกษาเรียนร่วม ทวิศึกษา
สุทธนี งามเขต
วัลภา อยู่ทอง
การอบรมครั้งนี้เป็นติใหม่ของกศน.โดยใช้สื่อของกศน.ที่มีอยู่แล้ว มีการทดสอบก่อนอบรม และหลังอบรม ครูและผู้บริหารสามารถดูเทปย้อนหลังและศึกษาจากเอกสารได้ พัฒนาดาวโหลดดอลคอม การใช้สื่อทางไกล ผลเป็นอย่างไร
หลักสูตรการจัดการศึกษาของกศน.และปวช ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ได้สองวุฒิในสามปี ต่อไปก็เป็นกระบวนการการศึกษา
ปัญหาของการเรียนร่วม เวลาไม่ลงตัว เพราะเด็กต้องมีเวลาเรียน มีการฝึกงานทำให้การจัดการศึกษาต้องใช้เวลาเรียนมากขึ้น
การจัดแผนการเรียนนำไปสู่ผลการเทียบโอน อ.วัลภา อยู่ทอง การจัดแผนการเรียนรู้
ปัญหาคือ ใบรบในแต่ละภาคเรียนเกินกว่า 24 ชั่วโมงต่อวันที่ต้องเรียน ต้องให้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง อาชีวคาบละ 60 นาที หน่วยกิจ 40 ชั่วโมงเท่ากับ 1 หน่วยกิต มีทฤษฏีและปฏิบัติ การคิดค่าหน่วยกิจ 1 ชั่วโมงต่อ 1 หน่วยกิจ ปฏิบัติกิจกรรม 2 สัปดาห์ 54 ชั่วโมงต่อ 1 หน่วยกิจ ในหลักสูตรอาชีวจะกำหนดเป็นทำทฤษฏี
กรอบโครงสร้างหลักสูตรปวช. 2556
หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า22 หน่วยกิต โดยกศน.
1.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพไม่น้อยกว่า 71หน่วยกิต โดย สอศ.
1.1กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า (18) โดย กศน.
1.2กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ(24)
1.3กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ไม่น้อยกว่า(21)
1.4ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ(4)
1.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ(4)
2.หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต โดย กศน.
3.กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชม./สัปดาห์) หน่วยกิต โดย กศน.
รวมระหว่าง103-120 หน่วยกิต
หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
ให้เรียนรายวิชาลำดับแรกของทุกกลุ่มวิชาหรือตามที่กลุ่มวิชากาหนดและเลือกเรียนรายวิชาส่วนที่เหลือตามที่กาหนดในแต่ละกลุ่มวิชาให้สอดคล้องหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เรียนอีก รวมไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
เรียนหลักสูตร ม.ปลาย 2551สพฐ. (รายวิชาพื้นฐาน) 41 หน่วยกิต./ กศน. (รายวิชาบังคับ) 44นก. เทียบโอนฯ สู่ ปวช.2556
2 กลุ่มวิชาภาษาไทยไม่น้อยกว่า 3 นก.
1.2กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศไม่น้อยกว่า6นก.
1.3กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า4นก.
1.4กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า4นก
1.5กลุ่มวิชาสังคมศึกษาไม่น้อยกว่า3นก.
1.6กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาไม่น้อยกว่า2นก. สามารถพัฒนาเพิ่มเติมในลักษณะจาแนกเป็นรายวิชาหรือบูรณาการ
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 71 นก.
2.1กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 18นก.
2.2กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ24นก.
2.3กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือกไม่น้อยกว่า
21นก.2.4ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ4นก
.2.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ4นก.
สอนโดย สถานศึกษาอาชีวศึกษา เทียบฯ สู่หลักสูตร สพฐ. (วิชาเพิ่มเติม) 40 นก.
หลักสูตร กศน. (วิชาเลือก)32นก.
การสาเร็จการศึกษา
•ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา
•ได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบตามโครงสร้างของหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา•ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า2.00และผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ•เข้าร่วมกิจกรรมและประเมินผ่านทุกภาคเรียน
การประกันคุณภาพหลักสูตร
•ให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 5ปี
1)คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา
2)การบริหารหลักสูตร
3)ทรัพยากรการเรียนการสอน
4)ความต้องการของตลาดแรงงาน
รงสร้างหลักสูตรกาหนด
•จัดรายวิชาในแต่ละหมวดวิชาให้ครบตามโครงสร้าง
•จัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตกระจายทุกภาคเรียน
•จัดวิชาชีพพื้นฐานในภาคเรียน 1-2ยกเว้นรายวิชาส่งเสริม/สนับสนุนงานอาชีพ
•จัดวิชาชีพสาขาวิชา/วิชาชีพเฉพาะในภาคเรียน 2-3เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือก
แนวทางการจัดแผนการเรียน
จัดรายวิชาตามลาดับง่าย-ยาก เป็นไปตามเงื่อนไขโครงสร้างหลักสูตรกาหนด
•จัดรายวิชาในแต่ละหมวดวิชาให้ครบตามโครงสร้าง
•จัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตกระจายทุกภาคเรียน
•จัดวิชาชีพพื้นฐานในภาคเรียน 1-2ยกเว้นรายวิชาส่งเสริม/สนับสนุนงานอาชีพ
•จัดวิชาชีพสาขาวิชา/วิชาชีพเฉพาะในภาคเรียน 2-3เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือก
- จัดวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือกในภาคเรียนที่ 2เป็นต้นไป
- จัดวิชาโครงการในภาคเรียน 5 หรือ 6
- จัดวิชาฝึกงานและรายวิชาชีพ ไปเรียนและฝึกในสถาน-ประกอบการภาคเรียนที่ 5-6
- จัดวิชาเลือกเสรีในภาคเรียนที่ 3 เป็นต้นไป
- จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2ชม./สัปดาห์ทุกภาคเรียน
- จัดวิชาในภาคฤดูร้อนให้พอดีกับเวลาเรียน (เทียบเคียงกันได้กับภาคเรียนปกติ ประมาณ 12นก.)
- ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้อง
แผนการเรียนหลักสูตรปวช
•เวลาเรียนไม่เกิน 35ชม.ต่อสัปดาห์ รวมกิจกรรมฯ 2ชม.ต่อสัปดาห์
•ภาคปกติไม่เกิน 22หน่วยกิตต่อภาคเรียน
•ภาคปกติไม่เต็มเวลา/ภาคฤดูร้อนไม่เกิน 12 หน่วยกิต ต่อภาคเรียน
•อัตราส่วนการเรียนรู้หมวดทักษะวิชาชีพ ท.:ป. ประมาณ 20:80
รหัสวิชา กำหนดตามรหัสหลักสูตร ชื่อวิชา มีรายวิชาที่ต้องเรียนก่อนหรือไม่
XXXX-XXXX 1234-5678 1ระดับหลักสูตร(2=ปวช.)2ประเภทวิชา/วิชาเรียนร่วม3-4สาขาวิชา/วิชาเรียนร่วม5-6สาขางาน/กลุ่มวิชา7-8ลาดับที่วิชา
การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
ได้รายวิชาและจานวนหน่วยกิตสะสมในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา และตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด
2.ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00
3.ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
4.ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรและ “ผ่าน” ทุกภาคเรียน ตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด
การประเมินสาขาวิชาชีพ จะผ่านหรือไม่ผ่านไม่เป็นไร ขอให้เข้าสอบ
แผนการจัดการเรียนรู้เป็นหน้าที่ของครู ตอนนี้กศน.ได้ทำรหัสไว้แล้ว ไม่ต้องคิดใหม่ ใช้เลข 8หลักคั่นด้วย 4 ตัวหลัก
ระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ มีชื่อหมวดเปลี่ยนแปลงไปบ้าง การประเมินผล คำที่ใช้ในส่วนที่ 5 ส่วนที่ 2 การประเมินเมือสิ้นสุดภาคเรียน
การประเมินผลการเทียบโอนผลการเรียน การจัดทวิศึกษา เอาโครงสร้างมาเทียบ วิชาส่วนกศน.วิชาบังคับ 44 หน่วยกิต ทักษะชีวิต 22 หน่วยกิจ อังกฤษ 6 หน่วตกิต อาชีวจะสอนอังกฤษให้ในวิชาเลือก แต่ตอนหลังกศน.เพิ่มการอ่านเขียนอังกฤษ ขึ้น 2 หน่วยกิต เพื่อให้ครบ 22 หน่วยกิต สำหรับวิชาเลือกให้เอาทักษะวิชาชีพเข้าไปโอนผลการเรียน หลักสูตร กศน.เรียน 78 หน่วยกิต
ในการเทียบโอนผลการเรียนจากเกรดมาเป็นเกรด ตอนนี้มีการวิเคราะห์ให้แล้ว ครูต้องพิจารณาว่าเด็กได้เกรดอะไร ต้องมีเนื้อหาตรงกันร้อยละ 60 จำนวนหน่วยกิตของกศน.และอาชีวจะไม่เหมือนกับกศน.
ในกรณีที่ได้ต่ำกว่า 2 เทียบโอนได้แต่จะได้เกรดน้อย ถึงว่าจะประเมินผลใหม่ผลก็จะไม่ต่ำกว่าเดิมต้องดูระเบียบด้วย ถ้าต่ำกว่าเท่าไรเป็น 0 จนถึงเกรด 4
รูปแบบของการเทียบโอน
การให้ค่าหน่วยกิตของกศน.และอาชีวะไม่เหมือนกัน
ปัญหาส่วนใหญ่จะอยู่รายวิชาบางรายวิชา ต้องเรียนเพิ่ม ซึ่งยังเป็นขั้นต่ำของอาชีว คือ 103 อาชีวะ กศน. 117
ข้อสรุป
โครงสร้างหลักสูตร ผลการเรียนรายวิชา ต้องนำมาเทียบโอน ครูต้องศึกษาและมีความพร้อมในหลักสูตรอะไร มีสาขาอะไรที่เปิดอยู่แล้ว เมื่อจบแล้วจะไปทำงานอะไรได้บ้าง
คำถาม
สถานศึกษาสามารถจัดวิชาบังคับในปีแรก ได้หรือไม่ จะทำให้เงินงบประมาณมีปัญหา โดยหลักเรียนคู่กัน แบ่งกันในแต่ละภาคเรียน 2 หลักสูตรคู่กันไป สำหรับการเรียน เรียนกศน. 9 สัปดาห์ และอีกครึ่งเทอมไปเรียนปวช.ขึ้นอยู่กับสถานศึกษาได้ตกลงกัน
อาชีวะ มีการเรียกเก็บการจัดการศึกษา ปวช.เป็นการจัดการศึกษาภาคบังคับ ไม่เก็บค่าเล่าเรียน ถ้าเป็นนอกเวลาและภาคฤดูร้อนต้องมีการเก็บ การเก็บเงินภาคปฏิบัติขึ้นอยู่กับสาขาวิชา อาชีวะมีเงินอุดหนุน เช่น ค่าสื่อ ชุดปฏิบัติ
ถ้าจบ ม3 ต้องเรียนแบบม.ปลายในระบบ สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) เรียนกศน. ก็มาสมัครที่ กศน.ประเทศ
สัปดาห์หน้า ดูการทบทวนหลักสูตร กศน. 51 แนวทางการเรียนร่วมทวิศึกษา ขั้นตอนการปฏิบัติ เวลา 10.00 น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น